Sustainability Report 2022

99 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน การพัฒนาเทคโนโลยี Robotic process automation (RPA) บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้พัฒนากระบวนการทำ �งานอย่างสม่ำ �เสมอ เพือให้เกิดประสิทธิภาพของการทำ �งานสูงสุด บริษัทได้เล็งเห็นถึง ความสำ �คัญของการนำ �เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาปรับใช้กับทุกภาคส่วน ขององค์กร ซึ่งคาดหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่รากฐานจนถึง กระบวนการทำ �งานหลัก ซึ่งบริษัทได้เริ่มจากการพัฒนากระบวนการ ทำ �งานบางประเภทที่มีรูปแบบการทำ �งานแบบซ้ำ �ๆ และมีปริมาณงาน ที่มากขึ้นตามจำ �นวนอากาศยานภายใต้การดำ �เนินงานของบริษัท ซึ่งทำ �ให้ภาระงานนั้นจำ �เป็นต้องใช้พนักงานและเวลาในการทำ �งานสูงขึ้น อย่างมีนัยสำ �คัญ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้เล็งเห็นถึงความสำ �คัญของ เวลาในการทำ �งาน จึงได้ศึกษาและพัฒนาโปรแกรม RPA เพือลด ภาระงานที่เกิดขึ้น และลดความผิดพลาดที่อาจเกิดจากพนักงาน อีกด้วย ทั้งนี้บริษัท ได้ส่งเสริมให้พนักงานเป็นผู้ริเริ่มโครงการ เพือวางวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ที่คาดหวังได้ รวมถึงกำ �หนดให้ พนักงานสามารถออกแบบการทำ �งานในรูปแบบใหม่ๆ สามารถนำ �เสนอ ต่อผู้บริหารเพือรับความเห็นชอบ และนำ �รูปแบบการทำ �งานของระบบ ใหม่มาทดแทนระบบเก่าโดยถาวร ผลการดำ �เนินงานและเป้าหมาย โครงการ RPA ในขั้นแรกเริ่มนั้นฝ่ายวิศวกรรมได้ศึกษาการนำ � โปรแกรม RPA มาประยุกต์ ใช้งานในการบันทึก ข้อมูลเข้าระบบจัดเก็บฐานข้อมูล เพือลดระยะเวลา ในการทำ �งานของแผนกบันทึกข้อมูลของฝ่าย วิศวกรรม โดยจากการใช้โปรแกรม RPA ในเดือน เมษายน ปี 2564 โดยมีต้นแบบโปรแกรมดังนี้ RPA สำ �หรับงานบันทึกข้อมูล การซ่อมบำ �รุงรักษาเครืองบิน ลดภาระงานเทียบเท่าค่าใช้จ่าย 320,000 บาทต่อปี RPA สำ �หรับการจัดทำ�รายงาน การใช้เครืองบิน 17 รายการ ลดภาระงานเทียบเท่าค่าใช้จ่าย 200,000 บาทต่อปี ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม RPA ทางฝ่ายวิศวกรรมได้จัดคณะทำ �งาน พิเศษโดยมีตัวแทนจากแต่ละฝ่ายร่วมกันทำ �งาน และคิดค้นกระบวนการ ที่สามารถทดแทนด้วยโปรแกรม RPA ที่ทดแทนกระบวนการทำ �งาน ที่ซ้ำ �ๆ โดยคณะทำ �งานได้มีการฝึกอบรมภายในขั้นตอนการใช้งาน โปรแกรมเบื้องต้น และได้มีการสำ �รวจความคิดเห็นสำ �หรับการพัฒนา ต่อไป แม้ว่าการพัฒนาโปรแกรมดังกล่าวได้หยุดลงชั่วคราวในปี 2565 เนืองจากผลกระทบจากโควิด-19 แต่ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ยังคง ใช้ประโยชน์จากโปรแกรม RPA อย่างต่อเนืองและได้ตั้งเป้าหมาย ระยะยาวในการใช้โปรแกรมดังกล่าวในทุกฝ่ายของบริษัท ไม่ใช่แค่ เฉพาะฝ่ายวิศวกรรม และคาดหวังว่าจะพัฒนาให้เป็นโปรแกรม การทำ �งานภายในอย่างสมบูรณ์ โปรแกรมตอบโต้อัตโนมัติสำ �หรับการสืบค้นข้อมูล จากการทำ �งานในปัจจุบัน ข้อมูลที่ใช้ในการทำ �งานแต่ละกระบวนการ จะมีเอกสารอ้างอิงที่จำ �เป็นต่อการทำ �งานหลายอย่างและจำ �เป็นต้อง ใช้ข้อมูลอ้างอิงจากหลายช่องทาง เช่น วิธีและขั้นตอนการซ่อมบำ �รุง ข้อมูลของลานจอดอากาศยาน เป็นต้น ทาง บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้เล็งเห็นถึงโอกาสในการพัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูลและการสือสาร ที่สามารถให้สร้าง chatbots ได้ เพือลดระยะเวลาในการค้นหา ข้อมูลอ้างอิง สร้างความสะดวกต่อผู้ ใช้งานมากขึ้น และเป็นการ รวบรวมข้อมูลเพือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ �งานภายใต้การดูแลจาก ส่วนกลาง ผลการดำ �เนินงานและเป้าหมาย โปรแกรมตอบโต้อัตโนมัติสำ �หรับการสืบค้นข้อมูลได้นำ �มาเริ่มใช้งาน และควบคุมโดยฝ่ายวิศวกรรมและฝ่ายปฏิบัติการการบิน ผ่าน แอปพลิเคชัน Line ตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 เป็นต้นมาจนถึง ปัจจุบัน โดยในปี 2565 บริษัทได้พัฒนา chatbots ด้วยการเพิ่ม ฟังก์ชัน และแหล่งข้อมูลอ้างอิงมากขึ้น เช่น ข้อมูลของเครืองมือ การซ่อมบำ �รุง เพือช่วยหาข้อมูลของเครืองมือช่างซ่อมบำ �รุงพร้อม วันสอบเทียบของเครืองมือดังกล่าวเพือให้ช่างซ่อมบำ �รุงสามารถ ตรวจสอบเองอีกรอบหนึ่งได้ และแน่ใจได้ว่าเครืองมือมีความพร้อม ใช้เป็นต้น โดยเบื้องต้นบริษัทมีแผนที่จะวัดความพึงพอใจของพนักงาน ฝ่ายวิศวกรรมและฝ่ายปฏิบัติการการบิน เพือเป็นตัวชี้วัดต่อไปในปี 2566 การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ความมุ่งมั่น บจ. ไทยแอร์เอเชีย มุ่งพัฒนาระบบ กระบวนการ และรักษามาตรฐาน ความปลอดภัยข้อมูลสม่ำ �เสมอ ข้อมูลถือเป็นปัจจัยหลักในการวิเคราะห์ และควบคุมการทำ �งานเพือตอบสนองการบริการที่มีคุณภาพต่อลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสีย และหน่วยงานอืนๆ ในแวดวงธุรกิจ ซึ่ง บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้กำ �หนดแนวทางบริหารจัดการตามสายการบินในกลุ่ม Capital A โดยจัดตั้งเป็นข้อกำ �หนดขั้นตอนวิธีปฏิบัติ เพือสอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบัน โครงสร้างการกำ �กับดูแลด้านความปลอดภัย ของข้อมูลและระบบสารสนเทศ การกำ �กับดูแลด้านความปลอดภัยของข้อมูลและระบบสารสนเทศ จะถูกดูแลภายใต้แผนก Group Information Security ซึ่งมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3