108 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน การบริหารจัดการสิินเชื่่อ บจ. ไทยแอร์เอเชีย เข้าใจถึงปัญหาในการบริหารส าพคล่อง ทางการเงินในช่วงส าวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ดังนั� นการบริหาร จัดการสินเชือ และเงือนไขการชำ �ระค่าใช้จ่ายตามกรอบเวลา ที่่ำ �หนดจึงเป็นปัจจัยที่่ำ �คัญในการดำ �เนินธุรกิจได้อย่าง ต่อเนือง บริษัทฯ ได้ทำ�การขยายระยะสินเชือ ขึ� นอยู่่ับคู่่้า ของบริษัทฯ และพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ระยะเวลาที่ ดำ �เนินธุรกิจร่วมกัน ประเ ทสินค้า ยอดขายสินค้า คุณ าพ มาตรฐานสินค้า ขนาดธุรกิจของคู่่้า (ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่) ทั� งนี� บริษัทฯ ได้กำ �หนดระยะเวลาสินเชือเป็น ไปตามหลักความเหมาะสม เพือให้คู่่้าได้สามารถดำ �เนินธุรกิจ ได้อย่างต่อเนืองอย่างยั่งยืน เนืองจากค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ จำ �เป็นจะต้องทำ �การจ่ายโดยทันที ดังนั� นค่าเฉลี่ยระยะเวลา สินเชือที่เกิดขึ� นจริงจึงมีค่าตำ� �กว่านโยบาย โดยในปี 2565 ระยะเวลาสินเชือประมาณ 30 วัน การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรต่อิ่ งแวด้ อม (Green Procurement) บจ. ไทยแอร์เอเชีย พยายามที่จะสรรหาคู่่้าหรือผลิตภััณฑ์์ที่สามารถจัดหาได้จากกิจการท้องถิ่นหรือในประเทศ เพือเป็นการส่งเสริมและยกระดับ อุตสาหกรรม ายในประเทศ รวมถึงเป็นการลดการปล่อยก๊า CO2 ที่เกิดจากการส่งสินค้าจากต่างประเทศ การซื� อสิินค้าแ ะบริการจากผู้ผลิิตภายในประเทศ ซึ่่งหลังจากการประเมินประสิทธิ าพของคู่่้า ทางฝ่่ายจัดซื้� อจะนำ �ผล การประเมินมาวิเคราะห์ประสิทธิ าพของคู่่้าเพือไว้ใช้ในการพิจารณา ในการจัดซื้� อสินค้าและบริการในอนาคต จากการตรวจสอบประเมินคู่่้า ในปี 2565 พบว่าคู่่้ารายสำ �คัญมีมาตรฐานผ่านเกณฑ์์การประเมิน ทั� งหมด ทั� งนี� ฝ่่ายจัดซื้� อได้เก็บข้อมูลการประเมินและมีแผนที่จะช่วย เสริมสร้างคู่่้าให้มีมาตรฐานที่่ีขึ� นในถัดไป แผนกจัดซื้� อได้มีการจัดลำ �ดับความสำ �คัญของคู่่้าโดยประเมินจาก ค่าใช้จ่ายยอดซื้� อขายและความสำ �คัญของธุรกิจของคู่่้า โดยทุกปีคู่่้า ที่่ีความสำ �คัญสูงจะถูกประเมินในส่วนของจรรยาบรรณธุรกิจ การปฏิิบัต ตามกฎหมาย ผลปฏิิบัติงาน ความเสี่ยงด้านธุรกรรม ความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อม และความเสี่ยงด้านความยั่งยืน ทั� งนี� ทางแผนกจัดซื้� อมีการ สือสารไปยังคู่่้า เพือให้คู่่้าจัดทำ �แผนการดำ �เนินการรองรับหากพบว่า มีสิ่งที่่้องปรับปรุงในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง ในปี 2565 บริษัทฯ ได้มีการจัดซื้� อมากกว่าปี 2564 มากกว่าสองเท่าตัว เนืองจากมีเที่ยวบินที่มากขึ� นมากกว่าปีที่่่านมา รวมถึงมาตรการโควิด ที่่่อนคลายมากขึ� น จึงมีการดำ �เนินธุรกิจที่มากขึ� น โดยยอดการใช้จ่ายในการซื้� อสินค้าได้เพิ่มขึ� นเป็นจำ �นวน 8,200 ล้านบาท จาก 3,780 ล้านบาท ในปีที่แล้ว การประเมินประสิิทธิภาพของค่� ค้า ไทยแอร์เอเชียได้รวมเอาเกณฑ์์ ESG มาใช้ประเมินเพือให้มั่นใจว่าคู่่้าเป็นไปตามมาตรฐานการดําเนินธุรกิจของบริษัท บริษัทฯ มีขั� นตอนในการประเมินประสิทธิ าพของคู่่้าเป็นประจำ �ทุกๆ ปี โดยใช้ตัวชี� วัดที่่�� งบนพื� นฐานของมาตรฐานการทำ �งานของคู่่้า มีดังนี� ความคุ้มค่าของสินค้าและบริการ (Product Worthiness) คุณ าพของสินค้าที่ได้รับ (Product Quality) ความตรงต่อเวลาในการส่งมอบสินค้า (Delivery on time) การตอบสนองของคู่่้า (Supplier after sales service and response) การใช้นวัตกรรม (Innovation Initiative) การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม สุขอาชีวอนามัย ความปลอดภััย และความยั่งยืน (EHS and Sustainability performance) หมายเหตุ: 1 เนืองจากโควิด-19 การระงับเที่ยวบินส่งผลให้ไม่มีคู่ค้าที่สําคัญสําหรับปี 2564 1 4 2 5 3 6 ระยะเว าสิินเชื่่อตามนโยบาย (วัน) (Credit terms) ค่าเฉลี่่ยระยะเว าสิินเชื่่อที่ เกิดข้� นจริงในปี 2565 (Actual Credit terms) 2563 2564 2565 มููลค่าการซื� อสิินค้าภายในประเทศ (ล้้านบาท) 2563 556 2564 395 2565 391 จำ ำนวนผู้ประกอบการภายในประเทศ จำ ำนวนค่� ค้ารายสำำ �คัญในประเทศ แ ะนอกประเทศของบริษััท ไทยแอร์เอเี ย จำ ำนวนค่� ค้ารายสำำ �คัญที่่่านเกณฑ์์ การคัดเลืือกแ ะตรวจประเมิน ค่� ค้าที่่�ส ำำัญด้าน ESG 12,000 3,780 8,200 2563 4 2563 4 2564 0 2564 0 2565 4 2565 4
RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3