Sustainability Report 2022

109 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน คู่ค้่าด้านวิศวกรรมแ ะซ่อมบำ �รุง บจ. ไทยแอร์เอเชีย มีคู่่้าผู้้ัดหาชิ� นส่วนและเครืองมือรวมถึงหน่วยซ่่อมบำ �รุงอากาศยานจำ �นวนทั� งสิ� น 134 ราย (ซึ่่งผ่านการประเมินตาม คุณสมบัติและกฎเกณฑ์์ที่่ำ �หนด เช่น ผ่านมาตรฐานอากาศยาน (Aviation Grade) และได้ใบรับรองจากมาตรฐานสากล ได้แก่ EASA FAA หรือ กพท. ต้องเป็นชิ� นส่วนอากาศยานที่ตรงตามมาตรฐานที่่�ผ ผลิตอากาศยานกำ �หนด และไม่เคยถูกติดตั� งบนอากาศยานที่เกิดอุบัติเหตุหรือ อุบัติการณ์ เป็นต้น โดยมีการประเมินคู่่้าที่เป็นผู้ผลิต ผู้้ัดหา หรือผู้ขาย ทุกๆ 1 ปี ด้วยเกณฑ์์การประเมินประสิทธิ าพของคู่่้า เนืองจากความต้องการด้านการเดินทางมีเพิ่มมากขึ� น ประกอบกับจำ �นวนหน่วยซ่่อมบำ �รุงที่่ีอยู่่�� นไม่เพียงพอ ทำ �ให้บริษัทต้องจัดหาหน่วย ซ่่อมบำ �รุงในต่างประเทศเพิ่มเติม ซึ่่งในปี 2565 นั� น บจ. ไทยแอร์เอเชีย มีคู่่้าทางด้านหน่วยซ่่อมบำ �รุงอากาศยานและบริภััณฑ์์ทั� งในประเทศและ ต่างประเทศจำ �นวนทั� งสิ� น 37 ราย เพิ่มจากปี 2564 เป็นจำ �นวนทั� งสิ� น 2 รายที่เป็นคู่่้าสำ �คัญ ซึ่่งคู่่้าที่เป็นหน่วยซ่่อมบำ �รุงอากาศยานและ บริภััณฑ์์ทั� งหมด ได้ผ่านการประเมินด้วยการพิจารณาตามขีดความสามารถของหน่วยซ่่อมบำ �รุง และอนุมัติจากฝ่่ายวิศวกรรมควบคุมคุณ าพ และมีการตั� งกำ �หนดการตรวจสอบทางวิศวกรรม (Engineering Audit) ซึ่่งมีความถี่ในการตรวจสอบแบ่งตามประเ ทความสำ �คัญของคู่่้า ตามการจัดลำ�ดับด้วยความถี่การใช้บริการและมูลค่ารวม ดังนี� การสร้้างความยั่งยืนให้กับค่� ค้าด้านวิศวกรรมแ ะซ่อมบำ ำ�ุง บจ. ไทยแอร์เอเชีย มุ่งมั่นในการสร้างความยั่งยืนให้กับคู่่้า เพือให้คู่่้าสามารถเติบโตได้อย่างมั่นคงไปพร้อมกัน บริษัทฯ ได้นำ �หลักการการวิเคราะห์คุณค่า และวิศวกรรมคุณค่า (Value Analysis/Value Engineering) เพือวิเคราะห์หน้าที่การทำ �งานของสินค้าหรือกระบวนการที่สามารถลดต้นทุน และไม่กระทบ ต่อคุณสมบัติในการทำ �งาน คุณ าพ และความปลอดภััย ในส่วนของกิจกรรมร่วมกับคู่่้าบริษัทได้มีการเน้นยำ� �ในเรืองความปลอดภััยและความผิดพลาดที่่ีโอกาสเกิดขึ� น โดยนอกจากบริษัท จะเน้นยำ� �ให้กับพนักงาน ายในแล้วนั� น บริษัทได้มีการเน้นยำ� �คู่่้ารายสำ �คัญ และจัดทำ �กิจกรรมนี� ร่วมกัน เพือลดความผิดพลาดในการซ่่อมบำ �รุง ด้วยวิธี KYT (Kiken, Yoshi, Training) คือ วิธีการวิเคราะห์หรือคาดการณ์ถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ� นล่วงหน้าจากการทํางานพร้อมทั� งกําหนดมาตรการหรือวิธีการป้องกันอันตราย แยกเป็นหัวข้อต่างๆ เช่น วิธีการใช้อุปกรณ์, การเน้นยำ� �เพือปฏิิบัติตามขั� นตอน การซ่่อมบำ �รุงทีู่่กต้อง เพือเป็นการยกระดับด้านความปลอดภััยของคู่่้า ควบคู่ไปพร้อมกัน ซึ่่งบริษัทได้ใช้กิจกรรมและนโยบายดังกล่าวดำ �เนินงานมาอย่างต่อเนืองตั� งแต่ปี 2559 จนถึงปัจจุบัน แผนการดำ ำเนินงานในอนาคตสำำ �หรับค่� ค้าด้านวิศวกรรมแ ะซ่อมบำ ำ�ุง ทาง บจ. ไทยแอร์เอเชีย มีความตั� งใจในการเสริมสร้างกลไกการจัดการห่วงโซ่่อุปทานอย่างต่อเนือง นอกเหนือจากการประเมินคู่่้าประจำ �ปีด้วยเกณฑ์์ทาง ประสิทธิ าพแล้วนั� น บริษัทมีแผนจะนำ �ประเด็นด้านสังคม และสิ่งแวดล้อมรวมถึงการปฏิิบัติตามจรรยาบรรณการดำ �เนินธุรกิจของคู่่้าเข้าไปอยู่ในเกณฑ์์ ประเมินอีกส่วนหนึ่งด้วย ซึ่่งจะช่วยพัฒนาการดำ �เนินธุรกิจอย่างยั่งยืนของคู่่้า เพือให้คู่่้าสามารถนำ �ผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงกระบวนการ ดำ �เนินงานให้สอดคล้องกับด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (ESG) และพัฒนาร่วมกันได้ต่อไป โดยในข้างต้นบริษัทวางแผนที่จะนำ �เกณฑ์์การประเมิน ด้าน ESG มาประเมินพร้อมกันกับการประเมินทางประสิทธิ าพ และในเบื� องต้นนั� นมีแผนแล้วเสร็จกับคู่่้าเดิมและรายใหม่ทุกราย ายในปี 2567 ประเภทค่� ค้าด้านหน่วยซ่อมบำ ำ�ุงอากาศยาน/หน่วยบริการใน านจอด จำ ำนวน (ราย) ความถี่ในการตรวจ อบ หน่วยซ่่อมบำ �รุงอากาศยานขั� นโรงงาน (Base/Heavy Maintenance) 7 ทุก 1 ปี หน่วยซ่่อมบำ �รุงบริภััณฑ์์ที่่ำ �คัญ เช่น เครืองยนต์ 11 ทุก 1 ปี หน่วยให้บริการเติมนำ� �มันอากาศยานในลานจอด 1 ทุก 1 ปี หน่วยซ่่อมบำ �รุงอากาศยานขั� นลานจอด (Line Maintenance) 8 ทุก 2 ปี หน่วยซ่่อมบำ �รุงอะไหล่และชิ� นส่วนอืนๆ 10 ทุก 1 ปี ผ่านแบบประเมิน ประสิทธิ าพคู่่้า 2563 2563 129 129 2564 2564 130 130 2565 2565 134 134 จำ ำนวนค่� ค้าด้านวิศวกรรมแ ะซ่อมบำ ำ�ุงทั� งหมด จำ ำนวนค่� ค้าด้านวิศวกรรมแ ะซ่อมบำ ำ�ุงทั� งหมด ที่่่านเกณฑ์์การคัดเลืือกแ ะตรวจประเมินค่� ค้า

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3