Sustainability Report 2022

141 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน บริษัทฯ ได้มีการเปลี่ยนแปลงเป้าหมายของดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านความปลอดภัย ดังนี้ อัตราความถี่ของการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (LTIFR) จาก <1.94 ครั้ง ต่อ 1 ล้านชั่วโมงการทำ �งานในปี 2564 เป็น < 1.65 ครั้ง ต่อ 1 ล้าน ชั่วโมงการทำ �งาน และอัตราความรุนแรงจากการบาดเจ็บ (ISR) จาก < 13.27 วันหยุดงาน ต่อ 1 ล้านชั่วโมงการทำ �งาน เป็น <12.70 วัน หยุดงาน ต่อ 1 ล้านชั่วโมงการทำ �งาน ทั้งนี้เป้าหมายดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านความปลอดภัย จะปรับเปลี่ยนตัวเลขเป้าหมายให้เหมาะสม โดยวิเคราะห์สถิติและข้อมูลย้อนหลัง จากนั้นจะเสนอผ่านมติการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัยของบริษัทฯ เพืออนุมัติตัวเลขเป้าหมาย ที่เหมาะสมแต่ละปี ทั้งนี้การควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับเหมาและผู้ค้าเพือเป็นการดำ �เนินการแก้ไขป้องกันอันตรายจากการทำ �งานต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยมี ดัชนีชี้วัด ดังต่อไปนี้ ดัชนีชี้วัดด้านความปลอดภัย (SPIs) ปี 2564 ปี 2565 เป้าหมาย ผลลัพธ์ เป้าหมาย ผลลัพธ์ ชั่วโมงการทำ �งาน (Working Hours) 1,255,639 1,255,639 จำ �นวนการเกิดอุบัติเหตุของผู้รับเหมา (Number of work-related accidents) N/A 1 N/A 6 อัตราการเกิดอุบัติเหตุของผู้รับเหมา (Accidental rate) 0.80 0.42 0.28 0.93 จำ �นวนการเสียชีวิตอันเนืองมาจากการทำ �งานของของผู้รับเหมา (Fataility No.) 0 0 0 0 อัตราการเสียชีวิตอันเนืองมาจากการทำ �งานของผู้รับเหมา (Fataility rate) 0 0 0 0 จำ �นวนการเกิดโรคอันเนืองมาจากการทำ �งาน (Work-Related Diseases No.) ของผู้รับเหมา 0 0 0 0 อัตราการเกิดโรคอันเนืองมาจากการทำ �งาน (Work-Related Diseases rate) ของผู้รับเหมา 0 0 0 0 จำ �นวนของการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (Number of LTI) ของผู้รับเหมา 0 0 0 0 อัตราของการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน (LTIFR) ของผู้รับเหมา 0 0 0 0 วัฒนธรรมความปลอดภัย นอกเหนือจากนโยบายความปลอดภัย บริษัทฯ เชือว่าความ ปลอดภัยควรเป็นมากกว่าแค่ระบบการจัดการ และเชือว่าค่านิยม ของพนักงานเป็นปัจจัยสำ �คัญที่สามารถช่วยผลักดันให้บริษัทไปสู่ ความยั่งยืนจึงส่งเสริมให้เกิดการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (Safety Culture) โดยกำ �หนดให้ความปลอดภัยเป็นหนึ่งในค่า นิยมขององค์กร ซึ่งเรียกว่า “Allstar Values” โดยให้ชือว่า “Safety Always” ความปลอดภัยเป็นหน้าที่ของทุกคน และเริ่มต้น ที่ตัวคุณเอง โดยในปี 2565 นี้ เพือให้สอดคล้องกับการกลับมา ปฏิบัติงานอีกครั้งของพนักงานหลังจากสถานการณ์โควิด-19 ที่ได้รับการผ่อนปรนจากหน่วยงานของภาครัฐ ทางบริษัทได้มีการ กำ �หนดรูปแบบในการจัดงาน Safety Day ในปี 2565 เพือให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันโดยใช้ชือว่า Safer Together Stronger Together อีกด้วย ทั้งนี้การสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยนั้น ทางบริษัทฯได้มีการสร้างความตระหนักรู้ด้านความ ปลอดภัย (Safety Awareness) กับพนักงานทุกคน ผ่านกิจกรรม ส่งเสริมด้านความปลอดภัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ • การรายงานโดยสมัครใจ (Voluntary Report) • ไม่ตำ �หนิหรือลงโทษผู้กระทำ �ความผิดพลาด ต้องยอมรับ ว่าความผิดพลาดเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และไม่ส่งเสริม หรือยอมรับให้มีการละเมิดหรือฝ่าฝืนกฎที่เสี่ยงต่อความไม่ ปลอดภัย (Just & Fair Culture) • การประชุมย่อยด้านความปลอดภัย (Safety Brief) • การสือสารด้านความปลอดภัย (Safety Communication) • กิจกรรมหยั่งรู้ระวังภัย (Kiken, Yoshi, Training:KYT) คือ วิธี การวิเคราะห์หรือคาดการณ์ถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น จากการทํา งานพร้อมทั้งกําหนดมาตรการหรือวิธีการป้องกันอันตรายแยก เป็นหัวข้อต่างๆ • การตรวจสอบ FOD ของพนักงานทุกคน และการตรวจสอบ คราบน้ำ �มันที่อาจมีการรั่วไหลจากอากาศยานของช่างซ่อมบำ �รุง อากาศยานทั้งก่อนเริ่มขณะ และหลังปฏิบัติงานในหลุมจอด อากาศยาน รวมทั้งทางแผนกบริการภาคพื้น (Ramp&GSE) ได้มีการจัดทีมตรวจตราบันไดผู้ โดยสารในหลุมจอดทุกวัน เพือเฝ้าระวังการเกิดอุบัติการณ์ต่ออากาศยานอีกด้วย • การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย (Participation) ของ ผู้บริหารระดับสูง เพือเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับพนักงาน • การเพิ่มการกำ �กับดูแลด้านความปลอดภัย (Safety Supervision) โดยการกำ �หนดหน้าที่และความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย ให้เป็นหน้าที่ของผู้บริหารทุกท่าน ทั้งนี้ได้มีหัวหน้างานทำ �หน้าที่ กำ �กับดูแลให้ผู้ ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามมาตรฐานด้านความ ปลอดภัยอย่างเคร่งครัดตลอดเวลา หมายเหตุ: เริ่มเก็บข้อมูลในปี 2564 ทำ �ให้ปี 2563 ไม่มีข้อมูล

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3