Sustainability Report 2022

143 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน • Crew Competency การฝึกอบรมต่างๆ แบ่งเป็น Pre-flight Safety Briefing, In-flight Safety Briefing ทั้งนี้ลูกเรือ (Cabin crew) นั้นได้ผ่าน การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย (Safety and Emergency Procedure) ตาม ข้อกำ �หนดของสำ �นักงานการบินพลเรือนฯ (กพท.) ที่ศูนย์ฝึกอบรมแอร์เอเชีย อะคาเดมี ที่ถูกก่อตั้งขึ้นมาในปี 2564 โดยศูนย์ฝึกอบรมนี้มีอุปกรณ์สำ �หรับ ฝึกอบรมทดสอบ และจำ �ลองสถานการณ์ต่างๆ เช่น ห้องโดยสารจำ �ลองการ ฝึกการเปิดประตู อพยพจากเครืองบินทั้งสำ �หรับเครืองบินแบบ A320 และ A330 สถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ โดยอาจารย์ผู้ฝึกสอนด้านความปลอดภัยที่ เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ได้รับการรับรองคุณวุฒิจาก กพท. • มีการทำ � Pre-flight safety briefing เพือเตรียมความพร้อมก่อนขึ้นบิน ทุกครั้งโดยจะมีการเช็ค เอกสาร ซักถามความรู้ด้านความปลอดภัย รวมถึง การแจ้งสภาพอากาศตามเส้นทางบินจากนักบินให้แก่ลูกเรือรับทราบ • ลูกเรือจะมีการ ทำ � Passenger Safety Briefing ให้แก่ผู้โดยสารก่อน เครืองขึ้นทุกๆเที่ยวบิน โดยการทำ � Safety briefing Demonstration ให้แก่ ผู้โดยสารทั่วไป และทำ � Individual Safety Briefing ให้แก่ผู้โดยสารที่ต้องการ ความช่วยเหลือพิเศษเช่น ผู้โดยสารเดินทางพร้อมทารกหรือที่มีความบกพร่อง ทางด้านร่างกายและอืนๆ รวมถึงมีการ Briefing การเปิดทางออกฉุกเฉินให้แก่ ผู้โดยสารที่นั่งอยู่บริเวณทางออกฉุกเฉินด้วย โดยความปลอดภัยของผู้โดยสาร (Passenger Safety) เป็นสิ่งที่ทางบริษัทฯ ให้ความสำ �คัญ โดยเรามีการดำ �เนินงานด้านความปลอดภัยดังต่อไปนี้ การดำ �เนินงานเพือความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ �งาน บจ. ไทยแอร์เอเชีย มีนโยบายและเป้าหมายในการปฏิบัติตามกฏหมาย ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้ครบถ้วน อย่างไรก็ตาม ยังมี ส่วนที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายซึ่งบริษัทกำ �ลังดำ �เนินการ อาทิเช่น การอบรมสารเคมี การอบรมความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพ แวดล้อมในการทำ �งาน ให้ครบตามเป้าหมาย เป็นต้น โดยจะดำ �เนินการ ให้เสร็จภายปี 2566 โดยบริษัทฯได้มีการปฏิบัติตามกฎหมายด้านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยอย่างต่อเนือง และมีประสิทธิภาพโดยได้กำ �หนดแผนปฏิบัติ งานดำ �เนินการประจำ �ปี โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ • จัดทำ �นโยบายและระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ �งานให้บริษัทสามารถปฎิบัติงาน ด้านความปลอดภัยได้อย่างมีระบบ • การแต่งตั้งผู้มีหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องในการดำ �เนินการด้านความ ปลอดภัย (Key Personel) เช่น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับ หัวหน้างาน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริหาร คณะกรรมการ ความปลอดภัย และผู้บริหารหน่วยงานความปลอดภัย เพือให้ ดำ �เนินการอย่างมีประสิทธิภาพ • การอบรม สือสาร ซ้อมแผนฉุกเฉิน สอบสวนอุบัติเหตุ ตรวจความ ปลอดภัย ตรวจสภาพแวดล้อมในการทำ �งาน ตรวจสุขภาพประจำ �ปี การปรับปรุงดูแลสภาพแวดล้อมในการทำ �งานและการจัดทำ �คู่มือ ขั้นตอนการปฏิบัติงานเพือความปลอดภัย

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3