Sustainability Report 2022

136 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน หน้าที่ด้านความปลอดภัยในแต่ละหน่วยงาน พนักงาน หน้าที่ความปลอดภัยเป็นของพนักงานทุกคน โดยจะต้องตระหนักถึง ความปลอดภัยทั้งของตนเองและผู้อืนอยู่เสมอ รวมถึงร่วมกิจกรรม ตามที่ได้รับมอบหมายและอบรมตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อย่างไร ก็ตามพนักงานทุกคนมีสิทธิปฏิเสธการทำ �งานใดที่คิดว่าไม่ปลอดภัย อาจทำ �ให้เกิดทรัพย์สินเสียหาย หรือต้องปฏิบัติงานที่ไม่ได้รับการ สอน/อบรม หรือไม่มีเครืองมือที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ พนักงานสามารถรายงานสิ่งที่คิดว่าเป็นอันตรายให้ผู้บังคับบัญชาทราบ หน่วยงานความปลอดภัย (Corporate Safety) หน่วยงานความปลอดภัยจะทำ �หน้าที่วางแผนการดำ �เนินงานสำ �หรับ การขจัดความเสี่ยงของสถานประกอบกิจการและดูแลให้มีการดำ �เนิน การอย่างต่อเนื่อง จัดทำ �อบรม จัดทำ �ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ ป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ อุบัติภัย และควบคุมความเสี่ยงภายใน สถานประกอบกิจการ รวมถึงรับรองความปลอดภัยว่าบริษัทปฏิบัติ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน ผู้บริหารระดับสูง (Safety Accountability and Responsibility) เป็นผู้มีอำ �นาจเต็มสูงสุด ในการดำ �เนินการและรักษาระบบ Safety Management System “SMS” โดยจะมีอำ �นาจชี้ขาดในด้าน ทรัพยากรบุคคล การดำ �เนินงานของแต่ละแผนก การเงิน รับผิดชอบ สูงสุดในเรืองความปลอดภัย และรับผิดชอบโดยตรง ในการจัดการ องค์กร ผู้อำ �นวยการความปลอดภัย (Head of Corporate Safety and Responsibility) มีหน้าที่ดำ �เนินการ Safety Management System “SMS” ตามนโยบายของผู้บริหารระดับสูง โดยจะชี้บ่งอันตรายและประเมิน ความเสี่ยง ตรวจสอบการดำ �เนินงาน และมาตรการต่างๆเพือลด ความเสี่ยง รายงานสมรรถนะด้านความปลอดภัย จัดทำ �เอกสาร ด้านความปลอดภัย และวางแผนจัดอบรมด้านความปลอดภัย การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย เพือสามารถควบคุมความเสี่ยงและจัดการกับความเสี่ยงด้านความปลอดภัยได้นั้น บริษัทฯ ดำ �เนินการใน 2 ขั้นตอน คือ 1. ชี้บ่งอันตราย (Hazard Identification) เพือค้นหาและจำ �แนกลักษณะ ขั้นตอนสาเหตุ และองค์ประกอบของสภาวะที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ และมีการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ เผยแพร่ผลการวิเคราะห์ภาวะอันตรายนั้นอย่างเป็นระบบ ทั้งนี้ทางบริษัทฯได้มีการรวมระบบความปลอดภัย ทางการบินเข้ากับ ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ �งาน (OSHA) เพือลดความเสี่ยงจากการทำ �งาน 2. การประเมินและการลดความเสี่ยง (Safety Risk Assessment and Mitigation) นำ �ข้อมูลมาประเมินความเสี่ยง (Safety Risk Assessment) ว่าอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถยอมรับได้หรือไม่ หากอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่สามารถยอมรับได้ก็จะนำ �มาวิเคราะห์เพือกำ �หนดมาตรการในการป้องกันหรือ ลดความเสี่ยงนั้น (Mitigation) ต่อไปเป็นการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทำ �งานที่บริษัทฯมีความใส่ใจในระดับสูงตั้งแต่ ระดับบริหารหัวหน้างานรวมถึงระดับปฏิบัติการเนืองจากเป็นวิธีการที่ช่วยลดความสูญเสียที่จะมารบกวนสุขภาพและการปฏิบัติงานของ พนักงานในบริษัทฯ ได้เป็นอย่างดี เป็นการทำ �งานด้านความปลอดภัยเชิงรุกมองเห็นคุณประโยชน์ทันทีที่ประเมินความเสี่ยง รวมทั้งระบบ การรายงานด้านความปลอดภัย (Safety Reporting System:SRS) ทางบริษัทฯ ได้มีระบบการรายงานที่มีชือเรียกว่า ระบบ RedEye ซึ่งระบบนี้พนักงานทุกคนสามารถเข้าถึงได้ผ่านช่องทางออนไลน์ ทั้งนี้ผลการรายงานด้านความปลอดภัยที่เข้ามาในระบบอยุ่ภายใต้นโยบาย ซึ่งผลการรายงานในระบบในปี 2565 มีจำ �นวนรายงานทั้งหมด 7,032 รายงาน จะเห็นได้ว่ารายงานอันตราย อุบัติการณ์ ได้ถูกวิเคราะห์หาสาเหตุและป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ � โดยมีตัวอย่างสำ �คัญ คือ กรณีอุปกรณ์ให้บริการ ภาคพื้นถูกพัดจากลมกรรโชกแรงหรือพายุฝน จึงเป็นที่มาให้มีข้อเสนอแนะจัดทำ �จุดยึดตรึงอุปกรณ์ภาคพื้น (Tie-down) โดยหลังจาก มีจุดยึดตรึงแล้ว ไม่มีรายงานหรือเหตุการณ์อุปกรณ์ภาคพื้นไหลจากลมพัดอีก อันตราย อุบัติการณ์ ประเภทของรายงาน ยังไม่ดำ �เนินการ ดำ�เนินการเสร็จสิ้น อยู่ระหว่างดำ �เนินการ 11.03% 71.25% 94.31% 17.71% 1.65% 4.04%

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3