Sustainability Report 2022

137 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน การประกันด้านความปลอดภัย เป็นการสร้างระบบเพือนำ �มาใช้ควบคุมความเสี่ยงและมีความมั่นใจ ว่าระบบมีความต่อเนืองที่จะสามารถป้องกันความเสี่ยงใหม่ๆ ที่อาจ จะเกิดขึ้นได้ ประกอบด้วย หัวข้อ รายละเอียด ความถี่ จำ �นวนการตรวจประเมิน ในปี 2565 การตรวจสอบด้าน ความปลอดภัย (Safety Audits) มีการตรวจประเมินทั้งจากภายนอกและภายใน ตามแผนงานเช่น สำ �นักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย(The civil aviation authority of thailand “CATT”) CAAT Audit ,อาชีวอนามัย และความปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการ ทำ �งาน (Occupational health and safety “OSHA”) OSHA Audit เป็นต้น ขึ้นกับผลการ ประเมินความเสี่ยง โดยความเสี่ยงอยู่ ในระดับสูง 36 การตรวจสอบ ตามระบบ SMS (SMS Audit) มีการดำ �เนินการตรวจสอบโดยแผนกควบคุม คุณภาพองค์กร (Operational Quality Assurance “OQA”) หรือการประเมินภายใน ของ IATA Operational Safety Audit “IOSA” เป็นต้น อย่างน้อยปีละครั้ง 1 การสำ �รวจด้าน ความปลอดภัย (Safety Surveys) การสำ �รวจความปลอดภัยทางบริษัทฯ โดยในปี 2565 มีการสำ �รวจความคิดเห็น เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของพนักงานด้าน นโยบายความปลอดภัย เพือนำ �ผลการสำ �รวจ มาวิเคราะห์ข้อมูล และปรับปรุงระบบ การจัดการด้านความปลอดภัยให้ดีขึ้น อย่างต่อเนือง อย่างน้อยปีละครั้ง 1 1 ติดตามและประเมินความปลอดภัย (Safety Performance Monitoring and Measurement) การติดตามและประเมินความปลอดภัยทำ �ได้โดยการกำ �หนด วัตถุประสงค์ด้านความปลอดภัย (Safety Objectives) การ กำ �หนดดัชนีชี้วัดด้านความปลอดภัย (Safety Performance Indicators:SPI ) และเป้าหมายประสิทธิภาพด้านความ ปลอดภัย (Safety Performance Target:SPT) ผลการ ปฏิบัติงานความปลอดภัยที่บรรลุผลเป็นการบ่งชี้ถึงพฤติกรรม ขององค์กรและยังเป็นตัวชี้วัดประสิทธิภาพของระบบการ จัดการด้านความปลอดภัย (SMS) สิ่งนี้ทำ �ให้ผู้บริหารระดับ สูงสามารถรับรู้สถานการณ์ปัจจุบันและสนับสนุนการตัดสิน ใจได้ทำ �ให้รวมถึงการพิจารณาว่าจำ �เป็นต้องมีการดำ �เนินการ เพื่อลดความเสี่ยงด้านความปลอดภัยเพิ่มเติมหรือไม่ และ เป็นการสร้างความมั่นใจว่าองค์กรบรรลุสามารถเป้าหมายด้าน ความปลอดภัยโดยทางบริษัทฯ มีการกำ �หนด ดัชนีชี้วัดด้าน ความปลอดภัย (Safety Performance Indicators :SPI) 2 บริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Management of Change) ในปี 2565 ที่ผ่านมา แม้ว่ากิจกรรมหรือการปฏิบัติงานหลายๆ อย่างหยุดชะงักไป ทางบริษัทฯได้จัดสรรบุคลากรเฉพาะ ในส่วน งาน Safety Risk Management ซึ่งมีการบริหารจัดการการ เปลี่ยนแปลงด้านความปลอดภัย(Management of Change “MOC”) โดยได้ทำ �การค้นหาความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจาก การกลับมาเริ่มปฏิบัติงานใหม่อีกครั้ง เนืองจากการกลับมาปฏิบัติ งานใหม่หลังจากสถานการณ์การแพร่กระจายของโรคโควิด-19 ในครั้งนี้มีปัจจัยที่ส่งผล กระทบหลายด้าน อาทิเช่น ทรัพยากร บุคคลที่กลับมาปฏิบัติ สุขภาพผู้ปฏิบัติงาน อุปกรณ์ที่นำ �กลับ มาใช้งาน กฎระเบียบขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงาน โดยได้รวบรวม จำ �นวนของความเสี่ยงที่บริษัทได้พิจารณามาได้ โดยแบ่งเป็น แผนกที่มีการจัดทำ � (Management of Change “MOC”) จำ �นวน 12 แผนก โดยแบ่งเป็นจำ �นวน MOC ทั้งหมด 145 เรือง 3 ปรับปรุงและพัฒนาระบบอย่างต่อเนือง (Continuous Improvement and Audit) เพือติดตามและประเมินกระบวนการ Safety Management System “SMS” เพือรักษาหรือปรับปรุงประสิทธิภาพโดยรวมของ SMS อย่างต่อเนือง กิจกรรมประกันความปลอดภัยนั้นต้องมีการตรวจสอบและการติดตามผลและกระบวนการตรวจสอบภายใน ดังนั้นการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนืองของทางบริษัทฯ ประกอบไปด้วย

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3