การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่งยืน
67 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน จากวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อเนื่อง บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้รับผลกระทบอย่างหนักจากวิกฤตโควิด-19 ตั้งแต่ ปลายเดือน ม.ค. 2563 อย่างต่อเนืองจนถึงปี 2565 ทำ �ให้เศรษฐกิจ ในทุกภาคส่วนได้รับผลกระทบเกิดความผันผวนและสร้างความ ท้าทายอย่างต่อเนือง ถึงแม้ว่าทุกปัจจัยและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น อยู่นอกเหนือการควบคุมทาง บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้ปรับเปลี่ยน และวางแผนตั้งรับตลอดเวลา รวมถึงบริหารจัดการกับปัจจัยที่สามารถ ควบคุมได้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดท่ามกลางความท้าทายดังกล่าว โดยเฉพาะมาตรการด้านสุขอนามัยเพือลดความเสี่ยงต่างๆ ในการ แพร่กระจายของโรคโควิด-19 และมาตรการความปลอดภัยของ ผู้โดยสาร ซึ่งบริษัทให้ความสำ �คัญเป็นอย่างยิ่ง ในปีนี้ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้พร้อมกลับมาให้บริการอย่างเต็มรูปแบบ อีกครั้ง เมือเดือนตุลาคมที่ผ่านมา และด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลือน ธุรกิจภายใต้กลยุทธ์ด้านความยั่งยืน ที่มีเป้าหมายมุ่งเน้นความสมดุล 3 ประเด็นคือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยคำ �นึงถึงการ บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน ทำ �ให้ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ยังคงเป็นสายการบินเดียวที่สามารถคงสถานะรายชือหุ้นยั่งยืนของ ตลาดหลักทรัพย์อย่างต่อเนืองเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน แนวทางการจัดทำ �รายงาน เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้จัดทำ �รายงานความยั่งยืนทุกปีโดยเริ่มตั้งแต่ ปี 2561 เป็นต้นมา เพือเปิดเผยกระบวนการบริหารจัดการตลอดจน ผลการดำ �เนินธุรกิจด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึง ประเด็นสาระสำ �คัญด้านความยั่งยืน เพือสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย ความยั่งยืนของสหประชาชาติ (United Nations Sustainable Development Goals: SDGs) ให้ผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและ ภายนอกรับทราบ รายงานความยั่งยืนฉบับนี้จัดทำ �ขึ้นครอบคลุมผลการดำ �เนินงาน วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565 ตามมาตรฐาน การจัดทำ �รายงานดังต่อไปนี้ • Global Reporting Initiative Standards (GRI Standards) ในระดับตัวชี้วัดหลัก (Core Option) • คู่มือการรายงานความยั่งยืน สำ �หรับบริษัทจดทะเบียนตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในระดับตัวชี้วัดหลัก (Core Option) • การประเมินความเสี่ยงและโอกาสภายใต้กรอบการเปิดเผยข้อมูล ความเสี่ยงทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศ (The Task Force on Climate-related Financial Disclosures: TCFD) ขอบเขตการรายงาน รายงานความยั่งยืนฉบับนี้นำ �เสนอผลการดำ �เนินงานในปี 2565 เฉพาะ บจ. ไทยแอร์เอเชีย และดำ �เนินกิจการในพื้นที่ในประเทศไทย ส่วนธุรกิจอืนที่บริษัทฯ มีสัดส่วนการลงทุนทั้งทางตรงและทางอ้อม น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง หรือไม่ได้มีส่วนร่วมในการบริหารโดยตรง แต่อาศัย การกำ �กับดูแลผ่านคณะกรรมการในบริษัทนั้นๆ ผลการดำ �เนินงาน ของกิจการดังกล่าว ไม่ได้ถูกนำ �มารวมในรายงานฉบับนี้ เนื้อหาของรายงาน และการรับรองรายงาน เนื้อหาหลักและข้อมูลสำ �คัญในรายงานฉบับนี้ได้ถูกทบทวนและ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารระดับสูงของแต่ละฝ่าย เพือให้ความเชือมั่นว่าเนื้อหาที่รายงานนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับ ประเด็นสาระสำ �คัญด้านความยั่งยืน และตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกภาคส่วน และเพือให้ข้อมูลการรายงานมีความน่าเชือถือและโปร่งใส ในรายงานฉบับนี้ได้รับการทวนสอบบัญชีสำ �หรับข้อมูลทางบัญชีจาก ผู้สอบบัญชีที่ได้รับการอนุญาตสำ �หรับข้อมูลทางด้านการเงินและ เศรษฐกิจที่สำ �คัญ และการทวนสอบจากหน่วยงานตรวจสอบจาก สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ ในการ ตรวจสอบความถูกต้องและทวนสอบก๊าซเรือนกระจก ตามพันธกรณี โครงการการชดเชยและลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ภาคการบินระหว่างประเทศ ขององค์การการบินพลเรือนระหว่าง ประเทศ (CORSIA-Carbon Offsetting and Reduction Scheme for International Aviation) ประเด็นสาระสำ �คัญด้านความยั่งยืน ปี 2565 ตามแนวทางการรายงาน GRI Standards: Core Option ที่ระบุในรายงานฉบับนี้ เปลี่ยนแปลง จากรายงานความยั่งยืนฉบับที่ผ่านมา เพือให้มีความสอดคล้องกับ ธุรกิจกับกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) เนื้อหาในรายงานฉบับนี้ครอบคลุมประเด็นสำ �คัญด้าน ความยั่งยืน รวมทั้งสิ้น 12 ประเด็น จากเดิม 11 ประเด็น ในปีที่แล้ว โดยมีการเพิ่มเรืองการยอมรับความหลากหลาย และความแตกต่าง (2) การรวมประเด็นสาระสำ �คัญด้านความยั่งยืนที่มีกิจกรรมและ การดำ �เนินงานร่วมกันที่มีนัยสำ �คัญสูงสำ �หรับผู้มีส่วนได้เสีย และสำ �คัญต่อธุรกิจ ได้แก่ การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า และการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ สุขภาพและความปลอดภัย บรรษัทภิบาลและจรรยาบรรณธุรกิจ กระบวนการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และการ บริหารจัดการวิกฤตและความเสี่ยง ติดต่อเรา บจ. ไทยแอร์เอเชีย ยินดีรับข้อเสนอแนะและความคิดเห็นสำ �หรับ รายงานฉบับนี้โดยสามารถส่งข้อคิดเห็นผ่านทางฝ่ายความยั่งยืน และสือสารองค์กร ได้ที่ Email : taa_sustainability@airasia.com ที่อยู่ : 222 ท่าอากาศยานดอนเมือง อาคารส่วนกลาง ชั้น 3 ห้อง 3200 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทร : (66) 2562-5700 การขับเคลือนธุรกิจเพือความยั่งยืน (GRI 2-1, 2-2, 2-3, 2-9, 2-14, 2-22, 2-23, 2-24)
68 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน นโยบายการบริหารจัดการ ความยั่งยืน และพันธสัญญา ด้านความยั่งยืน บจ. ไทยแอร์เอเชีย มีความมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้ ให้บริการ ผู้ส่งมอบ ประสบการณ์การเดินทางที่คุ้มค่า ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพ ห่วงโซ่คุณค่าและรับผิดชอบต่อผลกระทบต่างๆ ผ่านความใส่ใจต่อ ผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอก พร้อมแสวงหาโอกาสในการ พัฒนาเพือเติบโตร่วมกันในการขับเคลือนธุรกิจของ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ภายใต้กลยุทธ์ด้านความยั่งยืน (3G Good / Green / Growth) ซึ่งกลยุทธ์ดังกล่าว ครอบคลุม 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมซึ่งประเด็นดังกล่าวได้ถูกนำ �มาพิจารณา ทุกๆ กิจกรรมการดำ �เนินงานของบริษัทอย่างสม่ำ �เสมอ โดยเชือว่า ทั้ง 3 ประเด็น สามารถนำ �มาประยุกต์ใช้ได้ในทุกกิจกรรม หากเรามุ่งมั่น ในการพัฒนาอย่างสม่ำ �เสมอ ในปี 2565 เราได้ใช้แนวทางเดียวกัน กับนโยบายของ Capital A สำ �หรับปณิธานและพันธกิจ • สนับสนุนและปฏิบัติตามมาตรฐานสิ่งแวดล้อมทั้งหมดที่ ถูกจัดตั้งขึ้นโดยองค์กรการบินพลเรือนระหว่างประเทศ และองค์กรการบินอืนที่เกี่ยวข้อง • มีแผนดำ �เนินงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายระยะยาวของ องค์กรการบินระหว่างประเทศเพือบรรลุเป้าหมายการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ภายในปี 2593 • ลงทุนในฝูงบินที่มีประสิทธิภาพและยกระดับประสิทธิภาพ การดำ �เนินงานที่ลดการใช้เชื้อเพลิงและการปล่อยก๊าซ CO2 อย่างต่อเนือง • เสาะแสวงหาโอกาสที่จะลดปริมาณการปล่อยคาร์บอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เชื้อเพลิงในด้านการบินอย่างยั่งยืน และมาตรการชดเชยคาร์บอน (Carbon offsets) • อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยปรับปริมาณการใช้ ทรัพยากรต่างๆ อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะเชื้อเพลิง พลังงานไฟฟ้า และการใช้น้ำ � • บริหารจัดการขยะและของเสียภายใต้หลัก 3R คือการลด (reduce) การใช้ซ้ำ � (reuse) และการนำ �กลับมาใช้ ใหม่ (recycle) นโยบายการบริหารจัดการความยั่งยืน นับตั้งแต่ก่อตั้ง Capital A (กลุ่มธุรกิจ AirAsia ในชือเดิม) นั้นอยู่ใน ระดับแนวหน้าของนวัตกรรมในอุตสาหกรรมการบินและการเดินทาง มาโดยตลอด และในขณะที่บริษัทฯ ได้ขยายไปสู่สายงานธุรกิจใหม่ ด้านดิจิทัลนั้น บริษัทได้เล็งเห็นถึงความสำ �คัญในการสร้างความ ยืดหยุ่นในแต่ละด้านธุรกิจ บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสรรค์อนาคตอย่างยั่งยืนโดยการ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รักษาความสมบูรณ์ของระบบรวมถึง การให้บริการและตอบสนองต่อชุมชน สังคม รวมถึงพัฒนาศักยภาพ บุคลากรต่อไปเพือตอบโจทย์การแข่งขันทางธุรกิจและทุกภาคส่วน สามารถเติบโตไปพร้อมกัน เพือการปฏิบัติให้เป็นไปตามพันธสัญญา บริษัทจึงมีนโยบายดังต่อไปนี้ ด้านสิ่งแวดล้อม (GRI 2-22, 2-23, 2-24, 2-27)
69 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน • ปรับปรุงแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนือง และจัดให้มี สภาพแวดล้อมการทำ �งานที่่ีและปลอดภัยต่อสุขภาพให้กับพนักงาน • สนับสนุนวัฒนธรรมที่หลากหลาย ยอมรับความแตกต่าง และไม่เลือก ปฏิบัติอันเนื่องมาจากสาเหตุทางเพศ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ อายุ ความสามารถ รสนิยมทางเพศ หรือเงือนไขอืนๆ • เป็นผู้นำ �ในอุตสาหกรรมที่ ให้การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ เพศหญิงในทุกบทบาท รวมถึงด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (STEM) อย่างต่อเนือง • รักษาสภาพแวดล้อมในการทำ �งานที่เน้นการปฏิบัติที่เป็นธรรม มีความปลอดภัย สุขอนามัยที่ดี และสมดุลระหว่างชีวิตและการทำ �งาน • เคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของพนักงาน คู่ค้าทางธุรกิจ และกลุ่มอืนๆ ที่เกี่ยวข้อง ควบคู่ ไปกับการไม่แสวงหาผลประโยชน์ จากการใช้แรงงานเด็กและไม่มีการบังคับใช้แรงงาน • มีส่วนร่วมในการสร้างประชาคมอาเซียนโดยส่งเสริมผู้ประกอบการ และสร้างความยืดหยุ่นระหว่างชุมชนและสังคมที่เกี่ยวข้อง • ส่งเสริมการเติบโตของนักท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบในภูมิภาค อาเซียนเพือช่วยรักษาระบบนิเวศและแหล่งมรดกทางธรรมชาติ • บรรลุวัตถุประสงค์ด้านความยั่งยืนตามดังรายละเอียดในรายงาน ความยั่งยืน Redbook ของ Capital A • กำ �หนดกรอบและขอบเขตการทำ �งานด้านความยั่งยืนเพือให้เป็นไป ตามเป้าหมายการพัฒนาที่่�ย งยืนขององค์การสหประชาชาติ (SDGs) • ดำ �เนินงานธุรกิจอย่างโปร่งใส ซือสัตย์ และมีการกำ �กับดูแลกิจการ อย่างเข้มแข็ง • ทบทวนและปรับปรุงนโยบายการดำ �เนินงานให้เป็นปัจจุบัน อย่างต่อเนือง เพือรักษามาตรฐานให้อยู่ระดับสูงสุดในการปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ทุกข้อที่เกี่ยวข้อง • บริหารจัดการความเสี่ยงและโอกาสที่เกิดขึ้นในทุกสายธุรกิจ รวมถึงหลักสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environment, Social and Governance, ESG) • ปลูกฝังวัฒนธรรมความยั่งยืนในองค์กรและตระหนักถึงการ ปฏิบัติที่เป็นแบบอย่าง • สื่อสารด้านคุณค่า แนวทาง และลำ �ดับความสำ �คัญด้าน ความยั่งยืนให้กับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน รวมถึงนักลงทุน พันธมิตรทางธุรกิจ คู่ค้า และลูกค้าของบริษัท • จัดซื้อจัดจ้างพันธมิตรทางธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบและ ส นับ ส นุนพัน ธ มิต ร ท า ง ธุร กิจ ที่มีก า ร ส ร้า ง คุณค่า แ ล ะ ให้ความสำ �คัญด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ที่สอดคล้องกับบริษัทฯ ด้านสังคม ด้านธรรมาภิบาล นโยบายนี้ ได้มีการทบทวนเป็นระยะอย่างต่อเนืองเพือให้แน่ใจว่ามีความครอบคลุมและเหมาะสม
70 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน วิสัยทัศน์การดำ�เนินการธุรกิจอย่างยั่งยืน เรามีความมุ่งมั่นที่จะเป็นสายการบินเพือธุรกิจที่ยั่งยืน เราจะนำ �มาตรฐานอุตสาหกรรมมาใช้เพื่อสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน โดยจะยึดถือมาตรฐานดัชนีความ ยั่งยืนที่เป็นที่ยอมรับในสากลและตลาดหลักทรัพย์ เรา มุ่งหวังที่จะติดอันดับดัชนีความยั่งยืนระดับโลกภายใน ปี 2567 พันธกิจการดำ �เนินการธุรกิจอย่างยั่งยืน ความยั่งยืนจะถูกปลูกฝังเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม องค์กรของเรา โดยเราจะ: • มีความเข้าใจว่าความยั่งยืนส่งผลกระทบต่อธุรกิจของ เราอย่างไร • รับผิดชอบต่อสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม รวมถึงผนวกปัจจัยด้านความยั่งยืนประกอบเข้ากับการ ตัดสินใจทางธุรกิจ • สร้างสรรค์นวัตกรรมเพือให้ก้าวไปไกลกว่าการปฏิบัติตาม ข้อกําหนดและคืนคุณค่าความยั่งยืนสู่ธุรกิจ
71 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน กลยุทธ์ด้านความยั่งยืน (SUSTAINABILITY STRATEGIES) GOOD บจ. ไทยแอร์เอเชีย ดำ �เนินธุรกิจโดยยึดมั่นในหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี ประกอบธุรกิจ อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ กฎเกณฑ์ สัญญาและข้อตกลงอย่างเคร่งครัด โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้พร้อมทั้งยึดถือหลักสิทธิมนุษยชน และปฏิบัติต่อแรงงานอย่าง เป็นธรรม มุ่งเน้นการปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรที่ดี ลงทุนกับการพัฒนาบุคลากรทั้งทักษะ การทำ �งานและด้านจริยธรรม มุ่งสร้างโอกาสการเติบโตให้กับชุมชนแวดล้อมในธุรกิจ การท่องเที่ยวและส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร ตลอดจนเป็นที่ยอมรับ และไว้วางใจจากสังคมและผู้มีส่วนได้เสีย GREEN บจ. ไทยแอร์เอเชีย ให้ความสำ �คัญกับการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งมั่นปกป้องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมรอบด้านที่อาจเกิดขึ้นจากการ ดำ �เนินงานของบริษัทฯ ตลอดห่วงโซ่คุณค่า โดยมีเป้าหมาย และแนวทางปฏิบัติเพือลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในแต่ละด้านอย่างต่อเนือง เพือการเติบโตขององค์กรอย่างสมดุล และยั่งยืนอย่างแท้จริง รวมถึงการรณรงค์ ให้เกิดการเดินทางที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม GROWTH บจ. ไทยแอร์เอเชีย มีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมให้สังคมมีความเติบโตอย่างยั่งยืน ในทุกมิติ โดยเริ่มจากการสร้างความสามารถในการเติบโตของธุรกิจ และเกื้อหนุนสังคม ให้มีความแข็งแรงในด้านต่างๆ เช่น การส่งเสริมการมีรายได้อาชีพที่่�ม นคง การสร้าง โอกาส รวมทั้งสรรหานวัตกรรมที่่่วยส่งเสริมความปลอดภัย อำ �นวยความสะดวก ในการเดินทาง พร้อมกับการจัดการต้นทุนที่่ีประสิทธิภาพ สือสารเพือสร้างความเข้าใจ อันดีในการดำ �เนินธุรกิจ เพือสร้างความผูกพันร่วมกันกับผู้้ีส่วนได้เสียทุกฝ่าย นอกจาก นี้้ังแบ่งปันองค์ความรู้และนวัตกรรม พร้อมทั้งร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เพือช่วย ส่งเสริมความเป็นอยู่่�ท ีีของสังคมให้มีความยั่งยืน และสามารถเป็นแรงขับเคลือนสังคม ให้เปลี่ยนแปลงที่่ียิ่งขึ้นได้อย่างต่อเนืองและยั่งยืน ทั้งนี้กลยุทธ์ด้านความยั่งยืนสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ในการเป็น “บริษัทชั้นนำ �ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพือการเดินทางที่ยั่งยืนในเอเชีย พร้อมให้บริการที่คุ้มค่ามากกว่าราคา” และพันธกิจในการผลักดัน “แอร์เอเชีย” ให้เป็นแบรนด์อาเซียนที่ ได้รับการยอมรับระดับโลก ตอกย้ำ �คุณค่าที่ ยั่งยืนต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
72 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน คณะกรรมการกำ �กับดูแลกิจการและ ความยั่งยืนของ บจ. ไทยแอร์เอเชีย บจ. ไทยแอร์เอเชีย ได้กำ �กับดูแลความยั่งยืน โดยแต่งตั้ง คณะกรรมการซึ่งประกอบไปด้วยคณะกรรมการและคณะบริหารของ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ทั้งนี้คณะทำ �งานด้านความยั่งยืน ประกอบไปด้วย ผู้อำ �นวยการของแต่ละแผนก ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายด้านความยั่งยืน ที่เป็นประเด็นที่มีนัยสำ �คัญทางธุรกิจของ บจ. ไทยแอร์เอเชีย ไปผนวก ในแผน กลยุทธ์ และปฏิบัติงาน พร้อมทั้งตั้งเป้าหมายและวัดผล การทำ �งานดังกล่าว ขอบเขตอำ �นาจหน้าที่ของคณะกรรมการการกำ �กับดูแลกิจการและ ความยั่งยืน มีรายละเอียดสำ �คัญดังต่อไปนี้ โครงสร้างการบริหาร การจัดการความยั่งยืน คณะกรรมการ บจ. ไทยแอร์เอเชีย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบ คณะทำ �งานด้านความยั่งยืน คณะทำ �งานด้านความยั่งยืน บจ. ไทยแอร์เอเชีย คณะผู้บริหารระดับภูมิภาค คณะผู้บริหาร บจ. ไทยแอร์เอเชีย คณะกรรมการกำ �กับดูแลกิจการ และความยั่งยืน คณะกรรมการสรรหา และกำ �หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ ความปลอดภัย 1. พิจารณา กำ �หนดนโยบาย เป้าหมาย แนวทางการดำ �เนินงาน และงบประมาณ เพือการดำ �เนินกิจการด้านการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน โดยคำ �นึงถึงความคิดเห็นและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กับผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงพิจารณากิจการที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพือเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทอนุมัติ 2. กำ �หนดประเด็นสำ �คัญที่มีผลกระทบต่อการดำ �เนินธุรกิจ ของบริษัท เพือดูแลผู้มีส่วนได้เสียอย่างเหมาะสม สู่การพัฒนา อย่างยั่งยืน 3. ติดตามและตรวจสอบผลการดำ �เนินกิจการตามนโยบายและ กลยุทธ์ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ให้คำ �ปรึกษา และสนับสนุน การดำ �เนินงานเพือความยั่งยืน ให้เป็นไปตามเป้าหมายการ ดำ �เนินงานที่วางไว้ 4. รายงานผลการดำ �เนินงาน ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทตรวจสอบและให้ความเห็นชอบ ต่อรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพือเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทพิจารณา ทั้งนี้จะมีคณะทำ �งานด้านความ ยั่งยืนที่จัดตั้งขึ้นจะประชุมร่วมกันทุกไตรมาส รายงานผลการ ดำ �เนินงานและติดตามความคืบหน้า ก่อนจะนำ �เสนอรายงานผล ทั้งหมดต่อคณะกรรมการการกำ �กับดูแลกิจการและความยั่งยืน ปีละ 2 ครั้ง เพือให้มั่นใจว่าแผนการกำ �กับดูแลความยั่งยืน ของบริษัทดังกล่าว ลุล่วงตามเป้าหมายที่กำ �หนด บจ. ไทยแอร์เอเชีย จัดประชุมกับคณะกรรมการบริษัทประจำ �ปี สำ �หรับผลการดำ �เนินงานความยั่งยืนในปีที่ผ่านมา รวมถึงทบทวน นโยบายและกำ �หนดกลยุทธ์ความยั่งยืนของบริษัท โดยนโยบายและ ทิศทางจะสอดคล้องกับทางที่ Capital A กำ �หนด (GRI 2-9, 2-14)
73 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน จุดเด่นความยั่งยืนปี 2565 Good Green Growth จำ �นวนเที่ยวบิน 65,495 ประสิทธิภาพการตรงต่อเวลา 92% ดัชนีวัดความพึงพอใจผู้โดยสาร (NPS: Net Promoter Score) 55% บริษัทฯ ตั้งเป้าหมายดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการบริการ ผ่านเครืองมือวัดความพึงพอใจและความผูกพันของ ลูกค้าต่อองค์กร หรือ Net Promoter Score ไว้ที่ร้อยละ 50 โดยในปีที่ผ่านมาได้ 55% การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3gCO2/RPK ลด Carbon Intensity Ratio ปีละ 3 gCO2/RPK การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 806,643 ตันคาร์บอนไดออกไซต์เทียบเท่า ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขอบเขต 1,2 และ 3 จำ �นวนการเกิดโรค อันเนืองมาจากการทำ �งาน 0 ไม่มีการเจ็บป่วยอันเนืองมาจาก การทำ �งานของพนักงานไทยแอร์เอเชีย และผู้รับเหมาในปีที่ผ่านมา ความหลากหลาย และความเท่าเทียมของพนักงาน 36.3% ในปี 2565 พนักงานเพศหญิงคิดเป็น ร้อยละ 36.3 ของจำ �นวนพนักงานทั้งหมด และร้อยละ 15.18 เป็นพนักงานระดับผู้บริหาร (Manager Level and HOD level) จำ �นวนข้อพิพาท กับชุมชน/สังคม 0 ไม่มีข้อพิพาทกับชุมชนและสังคมในปีที่ผ่านมา อบรมพนักงาน 24 ชั่วโมงต่อคนต่อปี การฝึกอบรมทักษะเฉพาะทาง (เฉลี่ย) CORSIA (โครงการการชดเชย และลดปริมาณการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ภาคการบินระหว่างประเทศ) ร่วมมือกับสำ �นักงานการบิน พลเรือนฯ ติดต่อกันเป็นปีที่ 4 ไทยแอร์เอเชียได้ ให้ความร่วมมือกับสำ �นักงานการบิน พลเรือนแห่งประเทศไทย ในโครงการ CORSIA ทั้งใน เรืองการนำ �ส่งข้อมูลปริมาณก๊าซคาร์บอน นับตั้งแต่ ปี 2562 การเช็กอินแบบไร้สัมผัส ประหยัดกระดาษ 3,472,821 แผ่น ประหยัดการใช้กระดาษที่ใช้การปรินต์บัตรที่นั่งเป็นจำ �นวน 3,472,821 แผ่น หรือคิดเป็นเงิน 1,041,846.30 บาท อัตราการรี ไซเคิลของขยะ ไม่อันตรายสถานีดอนเมือง การปฏิบัติการบิน สีเขียวที่เป็นมิตร ประหยัดน้ำ �มัน 2,237ตัน โครงการวิภาวดีฯ ไม่มีขยะ เข้าร่วมเป็นปีที่ 4 เข้าร่วมโครงการวิภาวดีฯ ไม่มีขยะ โดยในปีนี้ สามารถเพิ่มสัดส่วนขยะที่รี ไซเคิลสำ �หรับ ขยะไม่อันตราย มากขึ้นจาก 88.1% ในปี 2564 เป็น 100% ในสถานีดอนเมือง ลดการใช้น้ำ �ในแต่ละเที่ยวบิน ใช้เพียง 53.16 ลิตร ต่อเที่ยวบิน บริษัทตั้งเป้าหมายการใช้น้ำ �ในเที่ยวบิน ไม่เกิน 60 ลิตรต่อเที่ยวบิน โดยในปีที่ ผ่านมา บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมาย ในการลดปริมาณการใช้น้ำ �โดยใช้เพียง 53.16 ลิตรต่อหนึ่งเที่ยวบิน มาตรฐานความปลอดภัย ระดับสากล ISO 9001:2015 บริษัทฯ ได้การรับรองมาตรฐานด้านการจัดการ คุณภาพ ISO 9001:2015 *อ้างอิงข้อมูลตามวิเคราะห์และรายงาน รวมถึงการให้คำ �นิยามความตรงต่อเวลาของ The Cirium On-Time Performance Review 2022 จำ �นวนเที่ยวบินที่บินในประเทศและ ต่างประเทศของไทยแอร์เอเชียในปี 2565 บริษัทฯ เป็นสายการบินตรงเวลาที่สุดใน เอเชียแปซิฟิก* โดยวัดจากค่าประสิทธิภาพ การตรงต่อเวลา ซึ่งบริษัทฯ ตั้งเป้าหมายไว้ที่ 90% จำ �นวนการเสียชีวิต อันเนืองมาจากการทำ �งาน 0 ไม่มีการเสียชีวิต อันเนืองมาจากการทำ �งาน ของพนักงานไทยแอร์เอเชีย และผู้รับเหมาในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ตั้งเป้าหมายในการทำ �งานเพือให้ อัตราการรี ไซเคิลขยะ (Recycle Rate) สูงกว่าร้อยละ 80 ของน้ำ �หนักขยะไม่อันตราย ทั้งหมด ซึ่งบริษัทสามารถนำ �ขยะไม่อันตราย ที่สถานีดอนเมืองทั้งหมดไปรี ไซเคิล 100% ทำ�ให้ลดปริมาณขยะเสียที่จะนำ �ไปสู่บ่อฝังกลบ จากสถานีดอนเมืองให้เป็นศูนย์ 100% ในปี 2565 บจ. ไทยแอร์เอเชีย มีผลปฏิบัติงานด้านการประหยัด น้ำ �มันเชื้อเพลิง โดยสามารถประหยัด น้ำ �มันได้ 2,237 ตัน ซึ่งคิดเป็น > 7,000 ตัน ของปริมาณ คาร์บอน ซึ่งลดค่าใช้จ่ายไปได้ 1.8 ล้านเหรียญสหรัฐ
74 ภาพรวมธุรกิจ การประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงาน การกำกับ ดูแลกิจการ ข อมูล ทางการเงิน ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ป 2 5 6 5 การขับเคล� อนธุรกิจ เพ� อความยั่ งยืน การตอบรับสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 บจ. ไทยแอร์เอเชีย ทบทวนประเมินความเสี่ยงจากสถานการณ์วิกฤตการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ที่อาจส่งผลต่อการดำ �เนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงพิจารณาการตอบรับและระบุเป็นประเด็นสาระสำ �คัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัท แนวทางการประเมินผลกระทบจากวิกฤตการณ์ต่อเนืองการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อประเด็นความยั่งยืน กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ผลกระทบจากโควิด-19 ผลการดำ �เนินงาน ประเด็นสาระสำ �คัญที่เกี่ยวข้อง หุ้นส่วนทางธุรกิจ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม กระบวนการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มาปรับใช้กับสถานการณ์ การแบ่งกลุ่มการทำ �งานเพือลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนือง การบริหารจัดการทรัพยากรช่วงหยุดดำ �เนินการบิน • ยกระดับความปลอดภัยของข้อมูลและการปรับปรุง Chatbot เพือเพิ่มความสามารถในการใช้งานมากขึ้น • การนำ �การตรวจสอบแบบประเมินระยะไกล (remote audit) มาปรับใช้ เนืองจากข้อจำ �กัดในการเดินทางในบางพื้นที่ • การแบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน • มาตรการทำ �งานจากที่บ้าน • แบบสำ �รวจสุขภาพประจำ�วันผ่านระบบออนไลน์ • พนักงานฝ่ายปฏิบัติมีการใช้พลังงานเท่าที่จำ �เป็น • ทำ �การจอดระยะยาวสำ �หรับอากาศยาน ที่ ไม่ ได้ทำ �การบิน เพือลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน • กระบวนการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และการรักษา ความปลอดภัยของข้อมูล • การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน • สุขภาพและความปลอดภัย • กลยุทธ์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การบริหารจัดการของเสีย แนวทางการประเมินผลกระทบจากวิกฤตการณ์ต่อเนืองการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อประเด็นความยั่งยืน
RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3